Scan here!
ในการวิเคราะห์รายงานทางการเงินใช้ในการเปรียบเทียบ เปรียบเทียบกับอะไรบ้าง
รายงานการบันทึกและวิเคราะห์ข้อมูลสำคัญที่เกิดขึ้นในที่ประชุม โดยการวิเคราะห์เหล่านี้ช่วยให้ทุกฝ่ายสามารถติดตามผล ดำเนินงาน และตัดสินใจในทิศทางที่ชัดเจนและมีประสิทธิภาพมากขึ้น
จะเปรียบเทียบกับ 3 ส่วน งบการเงินของตัวเราเองในอดีต และ คู่แข่ง รวมถึงเทียบอุสาหกรรม ว่าปัจจุบันทำอะไรอยู่
- งบการเงินตนเองในอดีต
- งบการเงินของบริษัทคู่แข่งในอุตสาหกรรม
1. เปรียบเทียบภายในบริษัทเอง เพื่อหาจุดแข็ง จุดอ่อน, อุปสรรค, โอกาส
2. เปรียบเทียบกับคู่แข่ง
3. เปรียบเทียบภายในอุตสาหกรรม เพื่อดูว่าเราอยู่ในตำแหน่งไหนในอุตสาหกรรม ผู้นำ หรือ ผู้ตาม
-เปรียบเทียบคู่แข่งขัน
จากสภาพคล้องของบริบัทในการบริหารจัดการ หรือชำระหนี้
-เปรียบเทียบกับตัวเองจากผลการดำเนินงานอดีตและปัจจุบัน
-เปรียบเทียบกับอุตสาหกรรมเดียวกัน
ใช้เปรียบเทียบกับตัวเองในอดีต คู่แข่ง อุตสาหกรรม และแผนที่จะเกิดในอนาคต
เปรียบเทียบคู่แข้ง
1.อัตรกำไรขั้นต้นต่อรายได้รวม
2.อัตรากำไรสุทธิต่อรายได้รวม
3.อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์รวม
4.อัตราผลตอบแทนจากส่วนจองผู้ถือหุ้น
เปรียบเทียบข้อมูลในอดีต หรือ เทียบกับคู่แข่ง หรือเทียบกับอุตสาหกรรม
เปรียบเทียบกับ ส่วนกำไรที่ได้ รายจ่ายที่ออกไป ผู้ถือหุ้น กิจกรรมทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับกิจการ ของตัวเองและคู่แข่ง
เปรียบเทียบข้อมูลในอดีต หรือคู่แข็ง มาตรฐาน เกณฑ์ที่ตั้ง และเปรียบเทียบตลาด
1.เปรียบเทียบกับคู่แข่ง 2.เปรียบเทียบกับเป้าหมาย ว่าผลดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหรือไม่ 3.เปรียบเทียบกับงวดก่อนหน้า เพื่อวิเคราะห์ผลการดำเนินงานแต่ละไตรมาส
1.เปรียบเทียบกับข้อมูลการเงินในอดีตเช่น ผลการดำเนินการ
2.เปรียบเทียบกับมาตรฐานในอุตสาหกรรม เช่น อัตรากำไรสุทธิ ,อันตราส่วนหนี้สินต่อทุน
3.เปรียบเทียบกับงบประมาณที่ตั้งไว้
4.เปรียบเทียบกับคู่แข่ง
5.เปรียบเทียบกับคาดการณ์
การวิเคราะห์รายงานทางการเงินสามารถเปรียบเทียบได้กับหลายปัจจัยเพื่อให้เข้าใจสถานการณ์และประสิทธิภาพทางการเงินของธุรกิจได้ดีขึ้น โดยหลักๆ มีดังนี้:
1. เปรียบเทียบกับตัวธุรกิจเอง (แนวโน้มในอดีต)
• ใช้ข้อมูลในอดีตของบริษัท เช่น รายได้ กำไร หรืออัตราส่วนทางการเงินในปีหรือไตรมาสก่อนหน้า
• เพื่อดูการเติบโต (Growth) หรือการลดลง (Decline) ของธุรกิจ
2. เปรียบเทียบกับอุตสาหกรรม
• ดูว่าอัตราส่วนทางการเงินของธุรกิจอยู่ในระดับใกล้เคียงหรือแตกต่างจากคู่แข่งในอุตสาหกรรมเดียวกันอย่างไร
• เช่น เปรียบเทียบอัตรากำไรขั้นต้น หรืออัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ (ROA)
3. เปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐาน (Benchmark)
• เปรียบเทียบกับมาตรฐานที่เป็นที่ยอมรับในอุตสาหกรรม เช่น
• อัตราหนี้สินต่อทุน (Debt to Equity) ที่มักใช้เปรียบเทียบว่าบริษัทมีความมั่นคงหรือไม่
• มาตรฐานด้านสภาพคล่อง (Current Ratio)
4. เปรียบเทียบกับเป้าหมายขององค์กร
• ดูว่าผลการดำเนินงานของธุรกิจตรงตามเป้าหมายที่วางไว้หรือไม่ เช่น เป้ารายได้หรือกำไรสุทธิ
5. เปรียบเทียบกับธุรกิจคู่แข่ง (Competitors)
• วิเคราะห์เพื่อดูว่าธุรกิจมีจุดแข็งหรือจุดอ่อนเมื่อเทียบกับคู่แข่งในตลาดเดียวกัน
6. เปรียบเทียบกับสภาพเศรษฐกิจ (Macroeconomic Factors)
• ดูความสัมพันธ์ระหว่างรายงานการเงินกับปัจจัยเศรษฐกิจ เช่น อัตราดอกเบี้ย เงินเฟ้อ หรือ GDP
• ใช้เพื่อวิเคราะห์ว่าสภาพเศรษฐกิจส่งผลกระทบต่อธุรกิจอย่างไร
ตัวอย่างอัตราส่วนสำคัญที่ใช้เปรียบเทียบ:
• อัตราส่วนสภาพคล่อง: Current Ratio, Quick Ratio
• อัตราส่วนความสามารถในการทำกำไร: Net Profit Margin, Gross Profit Margin
• อัตราส่วนการบริหารสินทรัพย์: Inventory Turnover, Accounts Receivable Turnover
• อัตราส่วนโครงสร้างทุน: Debt to Equity, Debt to Asset
การเปรียบเทียบเหล่านี้ช่วยให้เห็นภาพรวมว่าธุรกิจมีประสิทธิภาพและมีแนวโน้มเป็นอย่างไรเมื่อเทียบกับตัวเอง
งบการเงินของตัวเอง
งบการเงินกับบริษัทคู่แข่ง
งบการเงินตนเองในอดีต
งบการเงินของบริษัทคู่แข่งในอุตสาหกรรม
ใช้ในการเปรียบเทียบผลประกอบการที่เำเนินการมาเพื่อมาวางแผนกลยุทธ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
เปรียบเทียบกับอดีตของบริษัท กับงบประมาณที่ตั้งไว้ คู่แข่ง
ยอดต่างๆในงบกำไรขาดทุน ค่าใช้จ่ายรายได้ต่างๆ ผลประกอบการที่ผ่านมาเปรียบเทียบกับเป้าหมาย
งบการเงินตนเองในปีที่ผ่านๆมากับคู่แข่ง
การเปรียบเทียบรายงานทางการเงินสามารถทำได้หลายระดับเปรียบเทียบกับ
1.อดีตของธุรกิจ
2.กับเป้าหมาย
3.กับคู่แข่ง
4.กับมาตรฐานอุตสาหกรรม
5.กับปัจจัยภายนอก ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์
การเปรียบแร้วโน้ม
เปรียบเทียบกับคู่แข่ง
การเปรียบกับเป้าหมายหรือประมาณการ
การเปรียบเทียบอัตราส่วนทางการเงิน
การเปรียบเทียบระหว่างงบการเงิน
วิเคราะห์รายงานทางการเงินสามารถ เปรียบเทียบได้ทั้งกับข้อมูลในอดีต แผนงาน ค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรม ตัวชี้วัดทางการเงิน และปัจจัยภายนอก เพื่อช่วยให้ผู้บริหาร นักวิเคราะห์ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้าใจสถานการณ์ทางการเงินของธุรกิจและตัดสินใจได้อย่างแม่นยำ
การเปรียบเทียบทั้งภายใน -เปรียบเทียบงบการเงินต่างๆ และ ภายนอก -เปรียบเทีบยคู่แข่ว -เปรียบเทียบคู่แข่ง -ตลาด ช่วยให้เราเข้าใจสถานะและแนวโน้มของธุรกิจ ได้อย่างครอบคลุมและนำข้อมูลไปใช้ในการตัดสินใจได้
งบการเงินในอดีต งบการเงินคู่แข่ง มาตราฐานอุตสาหกรรม งบประมาณ อัตราส่วนทางการเงิน
1.ทางการเงินย้อนหลัง7ปีของบริษัทเอง 2.คู่แข่ง 3.จุดแข็งและจะอ่อนของตัวเอง
รูปแบบของการเปรียบเทียบงบการเงิน
1. การเปรียบเทียบตามแนวตั้ง (Vertical Analysis):
เป็นการเปรียบเทียบในช่วงเวลาหนึ่ง โดยการเปรียบเทียบแต่ละรายการในงบการเงินกับรายการฐาน (Base Item) เพื่อดูสัดส่วนที่แต่ละรายการมีต่อรายการฐาน เช่น การเปรียบเทียบแต่ละรายการในงบกำไรขาดทุนกับยอดขายรวม
2. การเปรียบเทียบตามแนวนอน (Horizontal Analysis):
เป็นการเปรียบเทียบงบการเงินของบริษัทในช่วงเวลาต่าง ๆ เพื่อดูแนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงในช่วงเวลาหลายปี เช่น การเปรียบเทียบยอดขายหรือกำไรสุทธิในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา
3. การเปรียบเทียบกับคู่แข่งหรืออุตสาหกรรม (Benchmarking):
เป็นการเปรียบเทียบผลการดำเนินงานและสถานะทางการเงินของบริษัทกับบริษัทคู่แข่งหรืออุตสาหกรรมเดียวกัน เพื่อดูว่าบริษัทอยู่ในระดับใด
เปรียบเทียบข้อมูลในอดีต ช่วยให้เข้าใจการเติบโต หรือเปลี่ยนแปลงทางสถานะทางการเงิน
เปรียบเทียบกับคู่แข่ง ในอุตสาหกรรมเดียวกัน เพื่อดูว่าบริษัท มีการแข่งขันได้หรือ
ซื้อให้เข้าใจว่าบริษัทอยู่ในระดับใดของตลาด ไม่
เปรียบเทียบกับข้อมูลในอดีตหรือกับคู่แข่งได้ ช่วยให้เราเช็คสุภาพของธุรกิจตัวเองได้
1.เปรียบเทียบการเงินในอดีต ของบริษัทเอง
2.เปรียบเทียบกับข้อมูลคู่แข่ง
3.เปรียบเทียบงบประมาณหรือตัวเลขที่ตั้งเป้า
4.เปรียบเทียบกับอัตราส่วนทางการเงิน
ใช้เปรียบเทียบกับข้อมูลในอดีต และข้อมูลคู่แข่ง
การวิเคราะห์รายงานทางการเงินใช้เปรียบเทียบกับข้อมูลในอดีตของกิจการ กิจการอื่นในอุตสาหกรรมเดียวกัน มาตรฐานอุตสาหกรรม เป้าหมายหรือแผนงานของกิจการ และเกณฑ์ที่เจ้าหนี้กำหนด เพื่อประเมินความสามารถและศักยภาพของกิจการ
1.เงินในอดีต
2.กับงบประมาณ
3.มาตรฐานอุตสาหกรรม
4.ผลประกอบการของบริษัท
5.การใช้ตัวชี้วัดทางการเงิน
เปรียบเทียบกับคู่แข่ง เพื่อหาจุดแข็ง-จุดอ่อนที่ต้องปรับปรุง
เปรียบเทียบกับการเติบโตของรายได้ รวมถึงสัดส่วนค่าใช้จ่าย
1. เปรียบเทียบกับข้อมูลในอดีตของธุรกิจ (Historical Comparison)
เปรียบเทียบผลการดำเนินงานกับปีที่ผ่าน ๆ มา เพื่อดูแนวโน้มการเติบโต
ใช้วิเคราะห์ว่ารายได้ กำไร หรือค่าใช้จ่ายมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร
2. เปรียบเทียบกับแผนงานหรืองบประมาณ (Budget vs Actual)
เปรียบเทียบผลลัพธ์จริงกับงบประมาณที่วางแผนไว้
ช่วยวิเคราะห์ว่าสามารถทำได้ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้หรือไม่
3. เปรียบเทียบกับคู่แข่งหรืออุตสาหกรรมเดียวกัน (Industry Benchmarking)
เปรียบเทียบกับบริษัทอื่น ๆ ในอุตสาหกรรมเดียวกันเพื่อดูสถานะการแข่งขัน
ช่วยให้เห็นว่าอยู่ในระดับที่ดีหรือด้อยกว่าคู่แข่ง
4. เปรียบเทียบกับมาตรฐานทางการเงิน (Financial Standards)
เปรียบเทียบกับมาตรฐานทางการเงินทั่วไปที่ใช้ในวงการ เช่น อัตราส่วนสภาพคล่องช่วยให้เข้าใจว่าธุรกิจมีความเสี่ยงหรือความแข็งแกร่งทางการเงินมากน้อยแค่ไหน
5. เปรียบเทียบระหว่างงบการเงินต่าง ๆ ของธุรกิจเอง (Cross-Statement Comparison)
วิเคราะห์ความเชื่อมโยงระหว่างงบการเงิน เช่น งบกำไรขาดทุน, งบกระแสเงินสด, งบแสดงฐานะการเงิน
6. เปรียบเทียบตามช่วงเวลา (Time Period Comparison)
เปรียบเทียบรายเดือน รายไตรมาส หรือรายปี เพื่อหาความผันผวนและแนวโน้ม
เปรียบเทียบกับ งบดุล กำไร ขาดทุน
มักนำมาใช้ในการเปรียบเทียบเพื่อประเมินผลการดำเนินงานของบริษัทหรือองค์กร โดยสามารถเปรียบเทียบได้ในหลายมิติ เพื่อให้เข้าใจสถานะการเงินและประสิทธิภาพการดำเนินงานได้ชัดเจนยิ่งขึ้น ดังนี้:
1. เปรียบเทียบกับข้อมูลในอดีต
2. เปรียบเทียบกับคู่แข่ง
3. เปรียบเทียบกับมาตรฐานในอุตสาหกรรม
4. เปรียบเทียบกับงบประมาณหรือเป้าหมายที่ตั้งไว้
5. เปรียบเทียบระหว่างหน่วยงานหรือสาขาภายในองค์กร
การเปรียบเทียบข้อมูลทางการเงินสามารถทำได้หลากหลายมิติ ทั้งภายในองค์กรและภายนอก การเลือกวิธีเปรียบเทียบขึ้นอยู่กับเป้าหมายของการวิเคราะห์ เช่น ต้องการประเมินผลการดำเนินงาน ความสามารถในการแข่งขัน หรือการบริหารจัดการ เพื่อให้สามารถตัดสินใจได้อย่างเหมาะสมและแม่นยำยิ่งขึ้น!
ใช้เปรียบเทียบระหว่างปี, คู่แข่ง, และเกณฑ์มาตรฐาน เพื่อประเมินผลการดำเนินงานและความสามารถในการแข่งขัน จะช่วยในการประเมินจุดแข็ง จุดอ่อน และแนวโน้มธุรกิจ
ดูการเปลี่ยนแปลงของรายได้ กำไร หรือค่าใช้จ่ายในแต่ละปี ใช้เพื่อวิเคราะห์ผลกระทบในระยะสั้น
เปรียบเทียบกับผลประกอบการในอดีต
เปรียบเทียบกับเป้าหมายหรือแผนงาน
เปรียบเทียบกับคู่แข่งในอุตสาหกรรม
เปรียบเทียบกับสถานการณ์เศรษฐกิจปัจจุบัน